วันพุธที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

ซอฟต์แวร์ประยุกต์

    ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือซอฟต์แวร์ที่เขียนขึ้น เพื่อประยุกต์กับงานที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำ ซอฟต์แวร์จัดเก็บภาษี ซอฟต์แวร์สินค้าคงคลัง ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล เป็นต้นการทำงานใดๆ โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จำเป็นต้องทำงานภายใต้สภาพแวดล้อมของซอฟต์แวร์ระบบด้วย ตัวอย่างเช่น ซอฟต์แวร์ประมวลคำต้องทำงานภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอสหรือวินโดวส์ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้รับความนิยมใช้งานอย่างแพร่หลายในทุกวงการ ความนิยมส่วนหนึ่งมาจาก  ขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้นๆ เพราะซอฟต์แวร์ที่ผลิต อ่านเพิ่มเติม




โปรแกรมอรรถประโยชน์

โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี้ (utility programs) เป็นซอฟท์แวร์ที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่าง เพื่อการจัดการงานพื้นฐานและบริการต่างๆ เช่น การจัดเรียงข้อมูล (sort) การรวมแฟ้มข้อมูลที่เรียงลำดับแล้วเข้าด้วยกัน (merge) หรือย้ายข้อมูลจากอุปกรณ์รับหนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่ง  รวมทั้งสามารถใช้จัดการกับฮาร์ดแวร์โดยตรง โปรแกรมอรรถประโยชน์ส่วนใหญ่จะถูกรวมอยู่ในระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว สามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท ดังต่อไปนี้

      ๑) โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility programs) เป็นโปรแกรมที่ติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงานร่วมกับฮา อ่านเพิ่มเติม


ระบบปฏิบัติการซิมเบียน

ระบบปฏิบัติการซิมเบียน (Symbian OS)  
ระบบปฏิบัติการ Symbian คือระบบปฏิบัติการที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อรองรับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย และออกแบบขึ้นมาเพื่อใช้ในงานกับโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นหลัก ในการรับส่งข้อมูล เป็นระบบที่ใช้งานง่าย ประหยัดพลังงาน ใช้หน่วยความจำขนาดเล็ก และมีความปลอดภัยสูง ทำให้เหมาะที่จะนำมาใช้กับโทรศัพท์เคลื่อนที่ 
MobileO อ่านเพิ่มเติม


ระบบปฏิบัติการพ็อกเก็ตพีซี

ที่จะกล่าวถึงต่อไปไม่ได้หมายถึงคอมพิวเตอร์โน้ตบุค หรือแลบท็อป แต่เป็นคอมพิวเตอร์แบบพกพาแบบมือถือที่รวมเอาฟังชั่นให้ทำงานหลายอย่างอยู่ด้วยกันในขณะเดียวกัน เดิมที่เนื่องจากเล้กเท่าฝ่ามือเลยเรียกว่าปาล์มท็อป (palmtop) ปาล์มตัวนี้แปลว่าฝ่ามือไม่ใช้ต้นปาล์ม มีระบบปฏิบัติการเป็นของตัวเองมีผู้คิดซอพท์แวร์ให้ใช้ได้มากมาย จนกระทั่งไมโครซอพท์ได้นำระบบวินโดว์เข้าไปใส่ ทำให้สามารถใช้ซอพท์แวร์ต่างๆ ได้หลากหลายขึ้น เป็นที่มาของพ็อกเก็ตพีซีนั่นเอง  ทำให้ใช้โปรแกรมออฟฟิสที่คุ้นเคยกันดีได้ ไม่ว่าเวิร์ด เอ็กเซล เพาเวอร์พอยน์ และยังอ่าน pdf ไฟล์ อ่านเพิ่มเติม



ระบบปฏิบัติการปาล์ม

เป็นระบบปฏิบัติการที่ถือได้ว่าเกิดขึ้นมาพร้อม ๆ กันกับการนำเอาคอมพิวเตอร์แบบพกพามาใช้ในยุคแรก ๆ เรียกกันว่าเครื่อง Palm ( ผลิตขึ้นโดยบริษัทปาล์ม) ซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในเวลาต่อมา เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นมาก่อน Windows CE หรือ Pocket PC OS ของไมโครซอฟต์ (เนื่องจากมีการผลิตเครื่องขึ้นมาใช้งานก่อนนั่นเอง) ปัจจุบันอาจพบเห็นการนำเอาระบบนี้ไปใช้กับคอมพิวเตอร์แบบพกพาของค่ายบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์เทคโนโลยีชั้นนำ นอกเหนือจากเครื่องของบริษัทปาล์มด้วย เช่น Visor (ของค่ายแฮนด์สปริงซึ่งปัจจุบันรวมกิจการเข้ากับบริษัทปาล์มไปแล้ว) และ CLIE (ของค่ายโซนี่ที่ยุติการผลิตไปแล้ว) ซึ่งก็ใช้ระบบปฏิบัติการแบบนี้ด้ อ่านเพิ่มเติม


ระบบปฏิบัติการโซลาริส

โซลาริสเป็นระบบปฏิบัติการ UNIX พัฒนาอดีตเป็นซอฟต์แวร์กรรมสิทธิ์เดิมได้รับการพัฒนา โดยซันไมโครซิสเต็มส์ โซลาริส oracle เป็นที่รู้จักกันตอนนี้มีแล้วเจ้าของ บริษัท Oracle ระบบปฏิบัติการหนึ่งโดยอุตสาหกรรมครอบคลุม และคุ้มค่ามากที่สุดสนับสนุนสร้างจากฐานแหล่งเดียว และมีอินเทอร์เฟซเดียวกันบนแพลตฟอร์มใด ๆ ได้รับการสนับสนุนนี้หมายความ ว่า โปรแกรมประยุกต์ที่พัฒนาขึ้นสำหรับระบบ SPARC สามารถได้อย่างง่ายดาย recompiled สำหรับ x86 ระบบ และในทางกลับกัน โซลาริสสามารถขยายระดับเว็บ คลังข้อมูล และการประยุกต์การคำนวณทา อ่านเพิ่มเติม



ระบบปฏิบัติการโอเอสทู วาร์ป

เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็ม ออกแบบมาเพื่อใช้เป็นระบบควบคุมเครื่องแม่ข่าย ติดต่อกับผู้ใช้โดยรูปแบบกราฟฟิก แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยม เมื่อ พ.ศ.2549 ทางไอบีเอ็มจึงเลิกพัฒนา ใน พ.ศ.2548 บริษัท เซเรนิตี ซิสเต็ม
(Serenity System) ได้พัฒนาระบบปฏิบัติการดังกล่าว โดยใช้ชื่อ อ่านเพิ่มเติม



ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์

เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้การทำงานของคนทำงานได้ด้วยความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ  ซึ่งถ้าหากเครื่องคอมพิวเตอร์นั้นมีเพียงเฉพาะตัวอุปกรณ์หรือฮาร์ดแวร์อยู่เพียงอย่างเดียวก็ไม่สามารถทำงานได้เป็นได้เพียงวัตถุชิ้นหนึ่งเท่านั้น การที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้นั้น จำเป็นต้องอาศัยซอฟต์แวร์ในการสั่งให้อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ทำงานได้ตามความต้องการของผู้ใช้งาน สำหรับในที่นี่จะกล่าวถึงการแบ่งประเภทของซอฟต์แวร์ ลักษณะย่อยของซอฟต์แวร์แต่ละประเภท การจำแนกประเภทของซอฟต์แวร์ตามลักษณะการใช้งาน และการพิจารณาซอฟต์แวร์ตามหลักของลิขสิท
อ่านเพิ่มเติม


ระบบปฏิบัติการลินุกซ์

ปัจจุบันได้มีการนำระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ไปประยุกต์เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับงานด้านต่างๆเชงานด้านการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ใช้เป็นสถานีงาน สถานีบริการ อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต หรือใช้ใน การเรียนการสอนและการทำงิจัยทางคอมพิวเตอร์ใช้พัฒนาโปรแกรมเนื่องจาก มีเครื่องมือมากมาย เช่น โปรแกรมภาษาซี (C) ซีพลัสพลัส (C++) ปาสคาล (Pascal) ฟอร์แทรน (Fortran) ลิสป์ (Lisp) โปรล็อก (Prolog) เอดา (ADA) มีภาษาสคริปต์ เช่น เชลล์ (Shell) บาสช์เชลล์ (Bash Shell) ซีเชลล์ (C Shell) คอร์นเชลล์ (Korn Shell) เพิร์ล (Perl) พายตัน (python) TCL/
นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมประยุกต์ในสาขาต่างๆ อีกมากมาย โดยข้อมูลของโปรแกรมเหล่านี้ได้รวบรวมไว้ อ่านเพิ่มเติม อ่านเพิ่มเติม



ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์

   เป็นระบบปฏิบัติการที่เคยพัฒนาในห้องแล็บ Bellสร้างขึ้นเพื่อใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์   และเมนเฟรม   ใช้ในการควบคุมการทำงานของศูนย์คอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมลูกข่ายคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงเป็นจำนวนมาก   ดังนั้นยูนิกซ์    จึงมักใช้ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่    และมีการเชื่อมต่อเครือข่ายระยะไกลต่อมาได้มีการพัฒนาให้สามารถนำยูนิกซ์มาใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ คาดว่ายูนิกซ์จะเป็นที่นิยมต่อไ อ่านเพิ่มเติม


ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช

Macintosh (มักเรียกว่า "the Mac" หรือ "Mac") ที่แนะนำในปี 2527 โดย Apple Computer เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลรุ่นแรกที่เป็น graphical user interface (GUI) รุ่นแรกที่ขายอย่างกว้างขวาง Mac ได้รับการออกแบบที่ให้ผู้ใช้ด้วยการอินเตอร์เฟซแบบธรรมชาติ เข้าใจได้ตามสัญชาติญาณ และโดยทั่วไป “เป็นมิตรกับผู้ใช้” ความคิดการอินเตอร์เฟซกับผู้ใช้จำนวนมากใน Macintosh มาจากการทดลองที่ห้องปฏิบัติการ Xerox Park ในช่วงต้นทศวรรษ 1970 รวมถึงเมาส์ ใช้ไอคอนหรือภาพมองเห็นได้ขนาดเล็กเพื่อนำเสนออ๊อบเจคหรือการกระทำ การกระทำชี้-และ-คลิก และ คลิก-และ-ลาก และความคิดระบบปฏิบัติการจำนวนหนึ่ง Microsoft ประสบความสำเร็จในแนวคิดการปรับปรุงการอินเตอร์เฟซแรกทำให้นิยมโดย Mac ในระบบปฏิบั อ่านเพิ่มเติม


ระบบปฏิบัติการวินโดส์ เซิร์ฟเวอร์

วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์เป็นระบบปฏิบัติการแรกที่ออกมาหลังจากไมโครซอฟท์ประกาศแนวทาง Trustworthy Computing จึงเป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเรื่องความปลอดภัย โดยเน้นความปลอดภัยเป็นหลัก เช่นหลังจากการตั้งแต่ติดตั้งเสร็จนั้น ไม่มีส่วนประกอบเซิร์ฟเวอร์ที่เปิดการใช้งานเพื่อลดช่องทางโจมตีตั้งแต่แรกเริ่ม และได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากใน IIS 6.0 โดยเกือบเขียนขึ้นมาใหม่หมด เพื่อเพิ่มความปลอดภัยประสิทธิภาพการทำงาน ในปีพ.ศ. 2548 ไมโครซอฟท์ได้ประก อ่านเพิ่มเติม


ระบบปฏิบัติการดอส

เริ่มมีใช้ครั้งแรกบนเครื่อง IBM PC ประมาณปี ค.ศ. 1981 เรียกว่าโปรแกรม PC-DOS ต่อมาบริษัทไมโครซอฟต์ได้สร้าง MS-DOS สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายมาจนถึงปัจจุบัน ตั้งแต่รุ่น Versions 1.0 2.0 3.0 3.30 4.0 5.0 6.0 และ 6.22 ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ทำงานภายใต้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS อยู่เป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะไมโครคอมพิวเตอร์รุ่นเก่าๆ ที่มีทรัพยากรของระบบน้อ อ่านเพิ่มเติม


ระบบปฏิบัติการ

ระบบปฏิบัติการ (operating system) หรือ โอเอส (OS)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป บางครั้งเราอาจะเห็นระบบปฏิบัติการเป็นเฟิร์มแวร์ก็ได้ ระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลัก ๆ คือ การจัดสรรทรัพยากรในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้บริการซอฟต์แวร์ประยุกต์ ในเรื่องการรับส่งและจัดเก็บข้อมูลกับฮาร์ดแวร์ เช่น การส่งข้อมูลภาพไปแสดงผลที่จอภาพ การส่งข้อมูลไปเก็บหรืออ่านจากฮาร์ดดิสก์ การรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย การส่งสัญญานเสียงไปออกลำโพง หรือจัดสรรพื้นที่ในหน่วยความจำ ตามที่ซอฟต์แวร์ประยุกต์ร้องขอ รวมทั้งทำหน้าที่จัดสรรเวลาการใช้หน่วยประมวลผลกลาง  อ่านเพิ่มเติม


ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์และการเลือกใช้ให้เหมาะสม

ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลำดับขั้นตอนการทำงานที่เขียนขึ้นด้วยคำสั่งของคอมพิวเตอร์ คำสั่งเหล่านี้เรียงกันเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จากที่ทราบมาแล้วว่าคอมพิวเตอร์ทำงานตามคำสั่ง การทำงานพื้นฐานเป็นเพียงการกระทำกับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดก็ได้โปรแก อ่านเพิ่มเติม